ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ความหมายของฮาร์ดแวร์(Hardware)
สามารถแบ่งออกเป็นลักษณะการทำงานได้ 4 หน่วย ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)
หมายถึง อุปกรณ์ในการรับข้อมูลจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบ แล้วส่งต่อข้อมูลไปยังส่วนต่อไป อุปกรณในการรับข้อมูลเช่น คีย์บอร์ด เมาส์ ไมโครโฟน สแกนเนอร์ ทัชสกรีน วีดีโอคาเมรา เป็นต้น
2. หน่วยความจำ(Memory Unit)
หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูลแล้วส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลส่วนกลางและเก็บข้อมูลเพื่อส่งไปยังหน่วยแสดงผลต่อไป หน่วยความจำแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1.) ความจำหลักหรือความจำภายใน(Main Memory) มี 2 ประเภทคือ
1.) รอม (ROM: Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่มีอยู่แล้ว ไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และสามารถใช้งานได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้า
2.) แรม(RAM: Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ใช้งานได้โดยต้องมีกระแสไฟฟ้าไม่เช่นนั้นข้อมูลจะหายหมด
2.) หน่วยความจำรองหรือความจำภายนอก(Second Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยอุปกรณืในการช่วยบันทึกเช่น การ์ดเมมโมรี่ ซีดี ฮาร์ดดิสก์ ฟ็อปปี้ดิสก์ แฟรชไดฟ์ เป็นต้น
3. หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit: CPU)
หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ประมวลผลคำสั่งที่ได้รับซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ อุปกรณ์ในการประมวลผลกลางเช่น ซีพียู ชิป เป็นต้น
อุปกรณ์ประมวลผลกลางนี้มีส่วนประกอบหลักดังนี้
1.) หน่วยควบคุม(Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมและสั่งการคอมพิวเตอร์
2.) หน่วยตรรกะ(Arithmetic & Logical Unit) ทำหน้าที่คำนวณและเปรีบยเทียบข้อมูลต่างๆ
3.) หน่วยความจำหลัก(Main Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ
4. หน่วยแสดงผลออก(Output Unit)
หมายถึง อุปกรณ์ในการแสดงผลออกมาจากการได้รับคำสั่งจากการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ส่งผ่านจากหน่วยการรับข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำแล้วมายังหน่วยแสดงผลออก
อุปกรณ์หน่วยแสดงผลออกเช่น ลำโพง จอภาพ เครื่องพริ้นต์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์(Software)
อุปกรณ์ประมวลผลกลางนี้มีส่วนประกอบหลักดังนี้
1.) หน่วยควบคุม(Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมและสั่งการคอมพิวเตอร์
2.) หน่วยตรรกะ(Arithmetic & Logical Unit) ทำหน้าที่คำนวณและเปรีบยเทียบข้อมูลต่างๆ
3.) หน่วยความจำหลัก(Main Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ
4. หน่วยแสดงผลออก(Output Unit)
หมายถึง อุปกรณ์ในการแสดงผลออกมาจากการได้รับคำสั่งจากการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ส่งผ่านจากหน่วยการรับข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำแล้วมายังหน่วยแสดงผลออก
อุปกรณ์หน่วยแสดงผลออกเช่น ลำโพง จอภาพ เครื่องพริ้นต์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์(Software)
ความหมายของซอฟต์แวร์(Software)
ซอฟต์แวร์(Software) หมายถึง ส่วนที่หน้าที่เป็นคำสั่งใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า "โปรแกรม" นั้นเอง
สามารถแบ่งประเภทซอฟต์แวร์ได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software)
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ประสานงานกับคอมพิวเตอร์และสนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1.) ระบบปฏิบัติการ(Operating System) เป็นหัวใจสำคัญของคอมพิวเตอร์ โดยจะทำงานควบคุมการทำงานฮาร์ดแวร์ ประเภทของระบบปฏิบัติการมีดังนี้
1.1) แบบงานเดียวผู้ใช้คนเดียว(Single Task Single User)
ระบบการทำงานแรกๆคือ ระบบปฏิบัติการดอส(Disk Operating System: DOS) ลักษณะการทำงานโดยหากมีผู้ใช้งานทำงานอยู่แล้วหนึ่งอย่างจะไม่สามารถทำงานที่สองได้พร้อมกับงานแรกต้องทำงานแรกให้เสร็จก่อน และมันจะไม่จำว่าใครเป็นคนทำ หากมีคนอื่นมาทำงานหรือแก้ไขงานก็ย่อมได้
1.2) แบบหลายงานผู้ใช้คนเดียว(Multi Task Single User)
ไมโครซอฟต์วินโดว์ รุ่นต่างๆ ลักษณะการทำงานคือสามารถใช้งานได้มากกว่าหนึ่งงานในเวลาเดียวกัน
1.3) แบบหลายงานผู้ใช้หลายคน(Multi Task Multi User)
ไมโครซอฟต์ เซิร์ฟเฟอร์,ไมโครซอฟต์ เอ็นที หรือลีนุกซ์ ลักษณะการทำงานคิอสามารถทำงานได้หลายงานในเวลาเดียวกันและได้หลายคนด้วย
2.) ซอฟต์แวร์แปลภาษา(Translator) เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะได้รับคำสั่งเป็นภาษาเลขฐานสองได้เท่านั้น ดังนั้นจึงต้องมีระบบซอฟต์แวร์แปลภาษาระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์เพื่อการเข้าใจกัน
3.) ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์(Utility Software) ทำหน้าที่ในการช่วยเสริมให้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นนอกเหนือจากการทำงานปกติ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมฮาร์ดแวร์ และคนส่วนใหญ่มักจะใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์มากกว่า
สามารถแบ่งประเภทซอฟต์แวร์ได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software)
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ประสานงานกับคอมพิวเตอร์และสนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1.) ระบบปฏิบัติการ(Operating System) เป็นหัวใจสำคัญของคอมพิวเตอร์ โดยจะทำงานควบคุมการทำงานฮาร์ดแวร์ ประเภทของระบบปฏิบัติการมีดังนี้
1.1) แบบงานเดียวผู้ใช้คนเดียว(Single Task Single User)
ระบบการทำงานแรกๆคือ ระบบปฏิบัติการดอส(Disk Operating System: DOS) ลักษณะการทำงานโดยหากมีผู้ใช้งานทำงานอยู่แล้วหนึ่งอย่างจะไม่สามารถทำงานที่สองได้พร้อมกับงานแรกต้องทำงานแรกให้เสร็จก่อน และมันจะไม่จำว่าใครเป็นคนทำ หากมีคนอื่นมาทำงานหรือแก้ไขงานก็ย่อมได้
1.2) แบบหลายงานผู้ใช้คนเดียว(Multi Task Single User)
ไมโครซอฟต์วินโดว์ รุ่นต่างๆ ลักษณะการทำงานคือสามารถใช้งานได้มากกว่าหนึ่งงานในเวลาเดียวกัน
1.3) แบบหลายงานผู้ใช้หลายคน(Multi Task Multi User)
ไมโครซอฟต์ เซิร์ฟเฟอร์,ไมโครซอฟต์ เอ็นที หรือลีนุกซ์ ลักษณะการทำงานคิอสามารถทำงานได้หลายงานในเวลาเดียวกันและได้หลายคนด้วย
2.) ซอฟต์แวร์แปลภาษา(Translator) เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะได้รับคำสั่งเป็นภาษาเลขฐานสองได้เท่านั้น ดังนั้นจึงต้องมีระบบซอฟต์แวร์แปลภาษาระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์เพื่อการเข้าใจกัน
3.) ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์(Utility Software) ทำหน้าที่ในการช่วยเสริมให้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นนอกเหนือจากการทำงานปกติ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมฮาร์ดแวร์ และคนส่วนใหญ่มักจะใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์มากกว่า
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์มี 2 ประเภทดังนี้
1.) ซอฟต์แวร์ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไป หรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการทำงานที่ไม่เจาะจงเป้าหมายการทำงานแต่จะทำงานได้ตามขอบเขตที่ผู้ผลิตผลิตขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ ซอฟต์แวร์ตารางการทำงาน ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็นต้น
2.) ซอฟต์แวร์ที่มีวัตถึประสงค์เฉพาะ ซอฟต์แวร์นี้ทำขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง ไม่สามารถนำไปใช้ได้ทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ระบบงานทะเบียนของมหาวิทยาลัย
ซอฟต์แวร์การตัดสินใจของบริษัทธุรกิจ เป็นต้น
1.) ซอฟต์แวร์ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไป หรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการทำงานที่ไม่เจาะจงเป้าหมายการทำงานแต่จะทำงานได้ตามขอบเขตที่ผู้ผลิตผลิตขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ ซอฟต์แวร์ตารางการทำงาน ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็นต้น
2.) ซอฟต์แวร์ที่มีวัตถึประสงค์เฉพาะ ซอฟต์แวร์นี้ทำขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง ไม่สามารถนำไปใช้ได้ทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ระบบงานทะเบียนของมหาวิทยาลัย
ซอฟต์แวร์การตัดสินใจของบริษัทธุรกิจ เป็นต้น
พีเพิลแวร์(Peopleware)
ความหมายของพีเพิลแวร์(Peopleware)
พีเพิลแวร์(Peopleware) หมายถึง บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ผู้สั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือผู้มีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามที่ต้องการ
พีเพิลแวร์(Peopleware) สามารถแบ่งออกเป็น 4 ระดับดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ(System Manager)
หมายถึง ผู้ที่วางเป้าหมาย กำหนดให้เป็นไปตามที่ตั้งไว้ของหน่วยการ
2. ผู้วิเคราะห์ระบบ(System Analyrt)
หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์ระบบงานให้เป็นไปตามต้องการ เหมาะสม และเป็นไปได้ เพื่อจะได้ให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนงานต่อไป
3. โปรแกรม(Programmer)
หมายถึง ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้ได้ใช้ตามต้องการ
4. ผู้ใช้(User)
หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้จากโปรปกมเมอร์ เพื่อให้งานนั้นมีประสิทธิภาพ